
พระอัญญโกณฑัญญเถระ
เมื่อจะติเตียนข้อปฏิบัติอันผิด
และสรรเสริญการปฏิบัติชอบและการอยู่สงัด
จึงได้ภาษิตคาถานี้ใจความว่า
ภิกษุมีใจฟุ้งซ่าน กลับกลอก คบหาแต่มิตรที่เลวทราม
ถูกคลื่นซัดให้จมอยู่ในห้วงน้ำ คือ สงสาร
ส่วนภิกษุมีใจไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กลับกลอก
มีปัญญารักษาตัวรอด สำรวมอินทรีย์
คบหากัลยาณมิตร เป็นนักปราชญ์
พึงทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
และสรรเสริญการปฏิบัติชอบและการอยู่สงัด
จึงได้ภาษิตคาถานี้ใจความว่า
ภิกษุมีใจฟุ้งซ่าน กลับกลอก คบหาแต่มิตรที่เลวทราม
ถูกคลื่นซัดให้จมอยู่ในห้วงน้ำ คือ สงสาร
ส่วนภิกษุมีใจไม่ฟุ้งซ่าน ไม่กลับกลอก
มีปัญญารักษาตัวรอด สำรวมอินทรีย์
คบหากัลยาณมิตร เป็นนักปราชญ์
พึงทำที่สุดแห่งทุกข์ได้
พระสูตร:
อัญญโกณฑัญญเถรคาถา พระไตรปิฎก ฉบับหลวง ๒๖/๓๘๓/๓๑๕-๓๑๖