ทรงอนุญาตเภสัช 5 ชนิด
เหตุการณ์
พระปิลินทวัจฉะถามพระพุทธเจ้าว่า พระเจ้าพิมพิสาร มีพระราชประสงค์จะถวายคนทำการวัด จะพึงปฏิบัติอย่างไร และพระพุทธองค์บัญญัติสิกขาบทเกี่ยวกับการเก็บเภสัช ๕ ชนิด
พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้มีคนทำการวัด
เมื่อภิกษุมีพอใจในความมักมาก เก็บเภสัชที่มีคนถวายไว้จนหนูเกลื่อนกล่น เป็นที่ติฉินของชนและภิกษุทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคทรงบัญญัติว่า เภสัชอันควรลิ้มของภิกษุผู้อาพาธ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ภิกษุรับประเคนของนั้นแล้ว พึงเก็บไว้ฉันได้ ๗ วันเป็นอย่างมาก ภิกษุล่วงกำหนดนั้นไป พึงปรับอาบัติตามธรรม
อ้างอิง
พระวินัยปิฎก เล่ม ๕ ข้อที่ [๔๕] ถึงข้อที่ [๔๗]
ลำดับที่
2
พระไตรปิฎกเสียงชุดอื่นๆ

พระพุทธกิจ
พุทธกิจ พรรษา ๔๑-๔๕พระพุทธกิจ
พุทธกิจ พรรษา ๓๑-๔๐
พระพุทธกิจ
พุทธกิจ พรรษา ๒๗-๓๐
พระพุทธกิจ
พุทธกิจ พรรษา ๒๓-๒๖
พระพุทธกิจ
พุทธกิจ พรรษา ๒๑-๒๒