พระพุทธเจ้าโปรดพระโพธิสัตว์

54272 รายการ
-
ปล่อยวางเหมือนการเห็นแก่ตัวไหม | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
ถ้าสมมติว่ามีคนบอกว่า ช่วงสงกรานต์เนี่ยเราต้องมาฉลองกัน เอาเหล้าเอาไวน์มาตั้งอย่างดีเลย ตั้งบนโต๊ะบอกให้มาฉลองกันดีกว่า จะดื่มไหม? เพราะอะไรไม่ดื่ม?
https://uttayarndham.org/node/5346 -
ปล่อยวางเหมือนการเห็นแก่ตัวไหม | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
ถ้าสมมติว่ามีคนบอกว่า ช่วงสงกรานต์เนี่ยเราต้องมาฉลองกัน เอาเหล้าเอาไวน์มาตั้งอย่างดีเลย ตั้งบนโต๊ะบอกให้มาฉลองกันดีกว่า จะดื่มไหม? เพราะอะไรไม่ดื่ม?
https://uttayarndham.org/node/5346 -
ขอพรตอนไหนดีเวลาสวดมนต์ | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
อานุภาพที่เกิดจากการสวดมนต์ มี ๓ ประการ คือ ๑. จะเกิดธรรมานุภาพ ธรรมานุภาพนี้จะมีทั้งธรรมานุภาพที่เป็นตัวสัจจะ และธรรมานุภาพที่เป็นสภาวะ
https://uttayarndham.org/node/5345 -
ขอพรตอนไหนดีเวลาสวดมนต์ | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
อานุภาพที่เกิดจากการสวดมนต์ มี ๓ ประการ คือ ๑. จะเกิดธรรมานุภาพ ธรรมานุภาพนี้จะมีทั้งธรรมานุภาพที่เป็นตัวสัจจะ และธรรมานุภาพที่เป็นสภาวะ
https://uttayarndham.org/node/5345 -
ขอพรตอนไหนดีเวลาสวดมนต์ | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
อานุภาพที่เกิดจากการสวดมนต์ มี ๓ ประการ คือ ๑. จะเกิดธรรมานุภาพ ธรรมานุภาพนี้จะมีทั้งธรรมานุภาพที่เป็นตัวสัจจะ และธรรมานุภาพที่เป็นสภาวะ
https://uttayarndham.org/node/5345 -
ขอพรตอนไหนดีเวลาสวดมนต์ | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
อานุภาพที่เกิดจากการสวดมนต์ มี ๓ ประการ คือ ๑. จะเกิดธรรมานุภาพ ธรรมานุภาพนี้จะมีทั้งธรรมานุภาพที่เป็นตัวสัจจะ และธรรมานุภาพที่เป็นสภาวะ
https://uttayarndham.org/node/5345 -
ขอพรตอนไหนดีเวลาสวดมนต์ | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
อานุภาพที่เกิดจากการสวดมนต์ มี ๓ ประการ คือ ๑. จะเกิดธรรมานุภาพ ธรรมานุภาพนี้จะมีทั้งธรรมานุภาพที่เป็นตัวสัจจะ และธรรมานุภาพที่เป็นสภาวะ
https://uttayarndham.org/node/5345 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344 -
จิตแข็ง จิตอ่อน เป็นอย่างไร | Dhamma Sharing (ธรรมกระจ่าง)
จิตไม่มีแข็ง ไม่มีอ่อน จิตเป็นอรูป แต่ที่เรารู้สึกว่าแข็งหรืออ่อนเป็นอย่างนี้ คือ 1. แข็งเพราะการยึดถือ เช่น เรายึดร่างกายจิตก็จะแข็งขึ้นมา ยึดอารมณ์จิตก็แข็ง ยึดตัวตน ยึดความรับผิดชอบจิตแข็งหมดเลย แต่แข็งแบบนี้แข็งแล้วเปราะ
https://uttayarndham.org/node/5344
พระผู้มีพระภาคสัมมาสัมพุทธอังคีรสเจ้า ทรงเป็นพระอนิยตโพธิสัตว์ปรารถนาเป็นพระพุทธเจ้าโดยยังไม่ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าพระองค์ใดมาก่อนเป็นเวลา ๑๖ อสงไขย หลังจากทรงได้รับพยากรณ์จากพระผู้มีพระภาคทีปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ทรงบำเพ็ญอุกฤษอีก ๔ อสงไขย จึงตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุกพระองค์ เมื่อตรัสรู้แล้ว ทรงสร้างทายาทแท้ ๒ ประเภทคือ ๑) สร้างพระอริยะ ๒) สร้างพระโพธิสัตว์
พระเจ้าปเสนทิโกศล เป็นพระโพธิสัตว์ได้รับพยากรณ์จากพระพุทธเจ้าว่า จะได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นองค์ที่ ๓ ในอนาคตกาล จึงเป็นหน้าที่ที่พระโพธิสัตว์ปเสนทิโกศลจะต้องทำนุบำรุงพระศาสนา และเรียนวิชาจากพระพุทธเจ้า พระผู้มีพระภาคก็ทรงอบรมบ่มนิสัย ให้สติปัญญาแก่พระโพธิสัตว์ปเสนทิโกศลอย่างดี เพื่ออบรมบารมีให้บริบูรณ์ขึ้น
พระพุทธเจ้าทุกพระองค์ก็จักทรงปฏิบัติต่อพระโพธิสัตว์เพื่อการเตรียมความพร้อมสรรพแห่งบารมีเช่นเดียวกัน เป็นการสร้างธรรมทายาทอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง จัดเป็นระบบการสร้างธรรมทายาทที่มาตรฐานและเป็นธรรมเนียมธรรมที่งามมากในจักรวาล
มูลนิธิอุทยานธรรม จึงได้รวบรวมบทธรรมระหว่างพระผู้มีพระภาคสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระโพธิสัตว์ปเสนทิโกศล ให้ท่านพุทธชนได้สดับกัน
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ข้อที่ | ชุดที่ | สารบัญเรื่อง | ว่าด้วย | องค์ธรรมหลัก |
---|---|---|---|---|
![]() |
1. บทนำ | |||
![]() |
2. พระธรรมราชา | พระพุทธทำนายของพระเจ้าปเสนทิโกศล | บุพกรรม | |
15_0322 |
![]() |
3. ทหรสูตร | ของ ๔ อย่างไม่ควรดูหมิ่น | ศรัทธา, ฆราวาสธรรม |
15_0328 |
![]() |
4. ปุริสสูตร | ธรรมที่ไม่เกิดประโยชน์แก่บุรุษ | กุศล-อกุศล |
15_0331 |
![]() |
5. ราชสูตร | ชราและมรณะ | เร่งความเพียร |
15_0334 |
![]() |
6. ปิยสูตร | ผู้รักตน | กรรม |
15_0337 |
![]() |
7. อัตตรักขิตสูตร | ผู้รักษาตน | การกระทำ, กุศล-อกุศล |
15_0340 |
![]() |
8. อัปปกสูตร | สัตว์มีจำนวนน้อย | กรรม, ฆราวาสธรรม |
15_0343 |
![]() |
9. อรรถกรณสูตร | การกระทำสิ่งที่เป็นประโยชน์ | กรรม, ฆราวาสธรรม |
15_0346 |
![]() |
10. มัลลิกาสูตร | ผู้รักตน | ความรัก, ฆราวาสธรรม |
15_0349 |
![]() |
11. ยัญญสูตร | ยัญที่มีผลมาก | กรรม, กุศล-อกุศล |
15_0352 |
![]() |
12. พันธนสูตร | เครื่องจองจำ | กาม-กามคุณ |
15_0354 |
![]() |
13. ชฎิลสูตร | พึงรู้ได้ด้วยอะไร | ฆราวาสธรรม, ปัญญา |
15_0359 |
![]() |
14. ปัญจราชสูตร | ยอดแห่งกามทั้งหลาย | กาม-กามคุณ, ปัญญา |
15_0364 |
![]() |
15. โทณปากสูตร | การประมาณในโภชนะ | ฆราวาสธรรม |
15_0368 |
![]() |
16. ปฐมสังคามวัตถุสูตร | ผู้ชนะย่อมก่อเวร | ปกิณกธรรม |
15_0372 |
![]() |
17. ทุติยสังคามวัตถุสูตร | ผู้แย่งชิงย่อมถูกแย่งชิงกลับ | กรรม |
15_0376 |
![]() |
18. ธีตุสูตร | สตรีก็เป็นผู้ประเสริฐได้ | ฆราวาสธรรม, ปกิณกธรรม |
15_0378 |
![]() |
19. ปฐมอัปปมาทสูตร | ความไม่ประมาท สูตรที่ ๑ | ความเพียร |
15_0381 |
![]() |
20. ทุติยอัปปมาทสูตร | ความไม่ประมาท สูตรที่ ๒ | ความเพียร, กุศล-อกุศล |
15_0386 |
![]() |
21. ปฐมาปุตตกสูตร | คนชั่วย่อมไม่บริโภคและให้ทาน | ทาน, ฆราวาสธรรม |
15_0390 |
![]() |
22. ทุติยาปุตตกสูตร | กรรมย่อมติดตามไป | กรรม, ทาน |
15_0393 |
![]() |
23. ปุคคลสูตร | บุคคล ๔ ประเภท | การกระทำ |
15_0399 |
![]() |
24. อัยยิกาสูตร | ชีวิตมีความตายเป็นที่สุด | บุญ-บาป |
15_0402 |
![]() |
25. โลกสูตร | ธรรมที่ไม่เกิดประโยชน์แก่ชาวโลก | กุศล-อกุศล |
15_0405 |
![]() |
26. อิสสัตถสูตร | ทานที่ประกอบด้วยองค์ ๕ มีผลมาก | ทาน |
15_0411 |
![]() |
27. ปัพพโตปมสูตร | ชราและมรณะเป็นประดุจภูเขา | เร่งความเพียร |
M56_0216 |
![]() |
28. มหาสุบินชาดก | ผลแห่งพระสุบิน | ปกิณกธรรม |
13_0559 |
![]() |
29. ธรรมเจติยสูตร | ธรรมเจดีย์ | ศรัทธา |
![]() |
30. บทส่งท้าย |