ธรรมวิภังค์

53743 รายการ
-
วัฑฒิสูตร - ผู้มีโชค มียศ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตร ภรรยา และสัตว์สี่เท้า บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้มีโชค มียศ เป็นผู้อันญาติมิตรและพระราชาบูชาแล้ว บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะและปัญญา
https://uttayarndham.org/node/4135 -
วัฑฒิสูตร - ผู้มีโชค มียศ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตร ภรรยา และสัตว์สี่เท้า บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้มีโชค มียศ เป็นผู้อันญาติมิตรและพระราชาบูชาแล้ว บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะและปัญญา
https://uttayarndham.org/node/4135 -
วัฑฒิสูตร - ผู้มีโชค มียศ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตร ภรรยา และสัตว์สี่เท้า บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้มีโชค มียศ เป็นผู้อันญาติมิตรและพระราชาบูชาแล้ว บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะและปัญญา
https://uttayarndham.org/node/4135 -
วัฑฒิสูตร - ผู้มีโชค มียศ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตร ภรรยา และสัตว์สี่เท้า บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้มีโชค มียศ เป็นผู้อันญาติมิตรและพระราชาบูชาแล้ว บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะและปัญญา
https://uttayarndham.org/node/4135 -
วัฑฒิสูตร - ผู้มีโชค มียศ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยทรัพย์ ข้าวเปลือก บุตร ภรรยา และสัตว์สี่เท้า บุคคลนั้นย่อมเป็นผู้มีโชค มียศ เป็นผู้อันญาติมิตรและพระราชาบูชาแล้ว บุคคลใดในโลกนี้ย่อมเจริญด้วยศรัทธา ศีล สุตะ จาคะและปัญญา
https://uttayarndham.org/node/4135 -
โสฬสปัญหา | Publications
ไขความกระจ่างโสฬสปัญหา อมตธรรมวิสัชนาอันล้ำค่า และธรรมปฏิบัติอันลึกซึ้ง ตรงสู่ผลเลิศ โดย พระผู้มีพระภาคสัมมาสัมพุทธเจ้า ศุภญาณ กรุณา บรรยายและนำปฏิบัติ ณ ศูนย์ฝึกอบรมปัญญธารา แจ้งวัฒนะ
https://uttayarndham.org/node/4134 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
เรามีความเพียรค้นคิดธรรมอยู่นาน ก็ไม่ได้ความสงบใจ จึงได้ถามสมณพราหมณ์ทั้งหลายว่า ใครหนอในโลกเป็นผู้ถึงฝั่งแล้ว ใครเล่าเป็นผู้ได้บรรลุธรรมอันหยั่งลงสู่อมตะ เราจักปฏิบัติธรรมของใคร ซึ่งเป็นเครื่องให้รู้แจ้งปรมัตถ์
https://uttayarndham.org/node/4133 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ใครในโลกจะช่วยเราผู้ถูกผูกแล้วให้หลุดพ้น ประกาศทางเป็นเครื่องตรัสรู้ให้เรา เราจะรับสมณะหรือพราหมณ์คนไหนไว้ เป็นผู้แสดงธรรมอันกำจัดกิเลสได้ จะปฏิบัติธรรมเครื่องนำไป ปราศจากชราและมรณะของใคร
https://uttayarndham.org/node/4132 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
จิตของเราถูกร้อยไว้ด้วยความลังเลสงสัย ประกอบด้วยความแข่งดีเป็นกำลัง ฉุนเฉียว ถึงความเป็นจิตกระด้างด้วยใจ เป็นเครื่องรองรับตัณหา สิ่งใดมีธนู คือ ตัณหาเป็นสมุฏฐาน มีประเภท ๓๐ เป็นของมีอยู่ในโลก
https://uttayarndham.org/node/4131 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
กรรมอันลามกตั้งขึ้นแล้ว ในภายในของเรา ย่อมพลันให้ผล กายอันเนื่องด้วยสัมผัส ๖ เกิดแล้วในที่ใด ย่อมแล่นไปในที่นั้น ทุกเมื่อ
https://uttayarndham.org/node/4130 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ก็บุคคลผู้นั้นเป็นใหญ่ในธรรม เป็นผู้ประเสริฐ ลอยโทษอันเป็นพิษเสียได้ ช่วยยกเราผู้ตกไปในห้วงน้ำ คือ สงสารอันลึกขึ้นสู่บกได้ เราเป็นผู้จมอยู่ในห้วงน้ำใหญ่ อันเป็นที่สุดแห่งธุลี เป็นห้วงน้ำลาดไปด้วยมายา ริษยา ความแข่งดี
https://uttayarndham.org/node/4129 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
กระแสตัณหาทั้งหลายย่อมไหลไปในอารมณ์ทั้งปวง ตัณหาเพียงดังเถาวัลย์เกิดขึ้นแล้วตั้งอยู่ ใครจะพึงกั้นกระแสตัณหาเหล่านั้นได้ ใครเล่าจะตัดตัณหาอันเป็นดังเถาวัลย์นั้นได้ ข้าแต่ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ขอท่านทั้งหลายจงทำฝั่ง
https://uttayarndham.org/node/4128 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
พระศาสดาผู้มีอาวุธ คือ ปัญญา ผู้อันหมู่ฤาษีอาศัยแล้วเป็นที่พึ่งแก่เรา ผู้มีภัยเกิดแล้ว ผู้แสวงหาฝั่ง คือ นิพพาน จากที่มิใช่ฝั่ง พระองค์ได้ทรงประทานบันไดอันนายช่างทำดีแล้ว บริสุทธิ์ทำด้วยไม้แก่น คือ ธรรม
https://uttayarndham.org/node/4127 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ก็เมื่อใด เราได้เห็นทางอันเป็นอุบายขึ้นสู่เรือ เมื่อนั้นเราจักไม่ยึดถือว่าเป็นตัวตน ได้เห็นท่า คือ อริยมรรคอันอุดม พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงทางอันสูงสุด เพื่อไม่ให้บาปธรรมทั้งหลาย มีทิฏฐิและมานะ เป็นต้น
https://uttayarndham.org/node/4126 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ก็เมื่อใด เราได้เห็นทางอันเป็นอุบายขึ้นสู่เรือ เมื่อนั้นเราจักไม่ยึดถือว่าเป็นตัวตน ได้เห็นท่า คือ อริยมรรคอันอุดม พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงทางอันสูงสุด เพื่อไม่ให้บาปธรรมทั้งหลาย มีทิฏฐิและมานะ เป็นต้น
https://uttayarndham.org/node/4126 -
พระเตลุกานิเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ก็เมื่อใด เราได้เห็นทางอันเป็นอุบายขึ้นสู่เรือ เมื่อนั้นเราจักไม่ยึดถือว่าเป็นตัวตน ได้เห็นท่า คือ อริยมรรคอันอุดม พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงทางอันสูงสุด เพื่อไม่ให้บาปธรรมทั้งหลาย มีทิฏฐิและมานะ เป็นต้น
https://uttayarndham.org/node/4126 -
พระมาลุงกยปุตตเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
เมื่อบุคคลได้เห็นรูป ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้ถูกต้องผัสสะ ได้รู้ธรรมารมณ์แล้วเป็นผู้มีสติเฉพาะหน้า มัวใส่ใจถึงรูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ ธรรมารมณ์ ว่าเป็นนิมิตที่น่ารัก สติก็ลุ่มหลง
https://uttayarndham.org/node/4125 -
พระมาลุงกยปุตตเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
เมื่อบุคคลได้เห็นรูป ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้ถูกต้องผัสสะ ได้รู้ธรรมารมณ์แล้วเป็นผู้มีสติเฉพาะหน้า มัวใส่ใจถึงรูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ ธรรมารมณ์ ว่าเป็นนิมิตที่น่ารัก สติก็ลุ่มหลง
https://uttayarndham.org/node/4125 -
พระมาลุงกยปุตตเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
เมื่อบุคคลได้เห็นรูป ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้ถูกต้องผัสสะ ได้รู้ธรรมารมณ์แล้วเป็นผู้มีสติเฉพาะหน้า มัวใส่ใจถึงรูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ ธรรมารมณ์ ว่าเป็นนิมิตที่น่ารัก สติก็ลุ่มหลง
https://uttayarndham.org/node/4125 -
พระมาลุงกยปุตตเถระ | Dhamma Daily (ธรรมประจำวัน)
ส่วนผู้ใดเห็นรูป ได้กลิ่น ได้ลิ้มรส ได้ถูกต้องผัสสะ ได้รู้ธรรมารมณ์ แล้วเป็นผู้มีสติเฉพาะหน้า ผู้นั้นไม่กำหนัดยินดีในรูป เสียง กลิ่น รส ผัสสะ ธรรมารมณ์ เป็นผู้มีจิตคลายกำหนัดเสวยอารมณ์อยู่
https://uttayarndham.org/node/4124
ธรรมวิภังค์ หรือ ธรรมวิเคราะห์ เป็นการจำแนกแจกแจงสัจธรรมและระบบคุณธรรมโดยพระผู้มีพระภาคสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งทำให้ธรรมชนทั้งหลายสามารถเข้าใจสัจธรรมได้อย่างลึกซึ้งเป็นระบบ ยกระดับปัญญาให้ถูกธรรม อันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อชีวิตจิตใจ และการบรรลุธรรม
ธรรมวิภังค์ที่ทรงแสดงไว้นี้ เป็นระบบธรรมหลักสำคัญที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต การบรรลุธรรม และการสืบทอดพระศาสนา จึงสมควรอย่างยิ่งที่ธรรมชนจะใส่ใจ ศึกษาให้เข้าใจ น้อมเข้ามาใส่ตน ปฏิบัติจริงจังให้บังเกิดผลจริง ทั้งปรับชีวิต จิตใจ ความสัมพันธ์ และกิจการงานให้เข้ากับระบบธรรมเหล่านี้ จึงจะเจริญโดยธรรมอย่างยิ่ง
โครงการแสงธรรมแห่งพระไตรปิฎก มูลนิธิอุทยานธรรม จึงได้จัดทำพระไตรปิฎกเสียงสมจริง ชุด “ธรรมวิภังค์” นี้ขึ้น ให้เป็นคู่มือแก่ธรรมชน และกัลยณชนคนดีผู้ใฝ่ในความเจริญทั้งหลาย
ขอเชิญรับฟังได้ ณ บัดนี้
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ข้อที่ | ชุดที่ | สารบัญเรื่อง | ว่าด้วย | องค์ธรรมหลัก |
---|---|---|---|---|
![]() |
1. บทนำ ธรรมวิภังค์ | |||
14_0598 |
![]() |
2. มหากัมมวิภังคสูตร | การจำแนกกรรม สูตรใหญ่ | กรรม |
14_0539 |
![]() |
3. จูฬกัมมวิภังคสูตร | การจำแนกกรรม สูตรเล็ก | กรรม |
14_0706 |
![]() |
4. ทักขิณาวิภังคสูตร | การจำแนกทักษิณาทาน | ทาน |
14_0698 |
![]() |
5. สัจจวิภังคสูตร | การจำแนกอริยสัจ | อริยสัจ ๔ |
14_0033 |
![]() |
6. วิภังคสูตร | อริยมรรค ๘ | มรรค ๘ |
19_0815 |
![]() |
7. วิภังคสูตร | ปฏิปทาอันให้ถึงการเจริญสติปัฏฐาน | มหาสติ |
14_0004 |
![]() |
8. วิภังคสูตร | การจำแนกปฏิจจสมุปบาท | ปัจจยาการ |
19_1179 |
![]() |
9. วิภังคสูตร | วิธีเจริญอิทธิบาท ๔ | การเจริญอิทธิบาท ๔, วิชชา ๘ |
19_0858 |
![]() |
10. วิภังคสูตรที่ ๑ | ความหมายของอินทรีย์ ๕ | อินทรีย์ ๕ |
19_0864 |
![]() |
11. วิภังคสูตรที่ ๒ | หน้าที่ของอินทรีย์ ๕ | อินทรีย์ ๕ |
19_0925 |
![]() |
12. วิภังคสูตรที่ ๑ | การจำแนกอินทรีย์ ๕ | อินทรีย์ ๕ |
19_0931 |
![]() |
13. วิภังคสูตรที่ ๒ | อินทรีย์ ๕ เป็นสุข ทุกข์ และอทุกขมสุข | อินทรีย์ ๕ |
19_0940 |
![]() |
14. วิภังคสูตรที่ ๓ | อินทรีย์ ๕ ย่นเข้าเป็น ๓ | อินทรีย์ ๕ |
14_0825 |
![]() |
15. สฬายตนวิภังคสูตร | การจำแนกอายตนะ ๖ | อายตนะ ๖, ลำดับแห่งธรรม |
14_0617 |
![]() |
16. สฬายตนวิภังคสูตร | การจำแนกสฬายตนะ | อายตนะ ๖, การพิจารณาธรรม |
14_0673 |
![]() |
17. ธาตุวิภังคสูตร | การจำแนกธาตุ | ธาตุ, การพิจารณาธรรม |
14_0638 |
![]() |
18. อุทเทสวิภังคสูตร | อุทเทสและวิภังค์ | การพิจารณาธรรม, ลำดับแห่งธรรม |
14_0638 |
![]() |
19. อรณวิภังคสูตร | การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | การขัดเกลาและละกิเลส |
![]() |
20. บทส่งท้าย |