ชุดวิเวก ๓
53281 รายการ
-
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
การจำแนกธรรมที่ไม่มีกิเลส | อรณวิภังคสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
พุทธวิธีจำแนกธรรม ที่ไม่มีกิเลส อรณวิภังคสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๑๔ ข้อที่ ๖๕๓-๖๗๒
https://uttayarndham.org/node/6794 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793 -
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ | ติตถสูตร | Buddhology (พุทธวิธีปฏิบัติธรรม)
ที่เกิดแห่งทิฏฐิ ติตถสูตร พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ๒๐ ข้อ ๕๑๒
https://uttayarndham.org/node/6793
พระไตรปิฎกชุดวิเวกนี้ เป็นเนื้อหาที่พระพุทธองค์ทรงสอนการปฏิบัติธรรมอันนำสู่ มรรค ผล สวรรค์ นิพพาน ซึ่งทรงจำแนกธรรมสั่งสอนบุคคลต่างๆ อย่างเหมาะสมกับบริบทของคนนั้น ๆ ด้วยปัญญาอันยิ่งของพระองค์ การปฏิบัติตรงตามพระพุทธเจ้าจึงได้ผลสูงสุด
ธรรมะชุดนี้เป็นคู่มือการปฏิบัติธรรมที่ตรงตามคำสอนของพระพุทธองค์อย่างเป็นระบบครบถ้วน ตั้งแต่การละมิจฉาทิฏฐิ สมาทานสัมมาทิฏฐิ การเจริญสติ สมาธิ ปัญญาอย่างถูกต้อง ทั้งปฏิปทาแห่งวิถีชีวิตที่เหมาะสม เพื่อการบรรลุธรรมอย่างถูกตรง แม่นยำ ซึ่งเป็นการปฏิบัติสายกลางที่ปฏิบัติง่าย ได้ผลง่าย
ข้อแนะนำในการฟังชุดวิเวก
ก่อนจะฟังชุดวิเวกนี้ ท่านพึงเข้าสมาธิสักครู่หนึ่ง เมื่อได้สมาธิดีแล้ว ให้เปิดฟังเบา ๆ น้อมใจปฏิบัติตามพุทโธวาทตรง ๆ และน้อมธรรมมาสู่ใจ ให้เข้าใจแจ้งและได้สภาวะจิตดีจริง เมื่อได้สภาวะดีใด ให้รักษาสภาวะนั้นออกมาสู่ชีวิตจริงให้มั่นคงจนเป็นภูมิธรรม อันจักเป็นฐานในการยกภูมิจิตให้เจริญสูงขึ้นต่อไป
ขอเชิญรับฟังและปฏิบัติได้ ณ บัดนี้
พระไตรปิฎก ฉบับหลวง เล่มที่ ข้อที่ | ชุดที่ | สารบัญเรื่อง | ว่าด้วย | องค์ธรรมหลัก |
---|---|---|---|---|
1. บทนำ | ||||
14_0178 | 2. สัปปุริสสูตร | ธรรมของสัตบุรุษและธรรมของอสัตบุรุษ | กุศล-อกุศล | |
21_0028 | 3. อริยวังสสูตร | อริยวงศ์ | ปฏิปทา | |
23_0096 | 4. โลกวิปัตติสูตร | โลกธรรม | โลกธรรม ๘ | |
23_0237 | 5. วิหารสูตร | วิหารธรรม | สมาบัติ | |
18_0251 | 6. มหาโกฏฐิกสูตรที่ ๑ | ทรงแสดงความไม่เที่ยงแก่พระมหาโกฏฐิกะ | ไตรลักษณ์ | |
18_0339 | 7. กึสุกสูตร | อุปมาด้วยต้นทองกวาว | ปกิณกธรรม | |
22_0290 | 8. มรณัสสติสูตรที่ ๑ | การเจริญมรณสติ | เร่งความเพียร | |
22_0291 | 9. มรณัสสติสูตรที่ ๒ | การเจริญมรณสติ | เร่งความเพียร | |
17_0027 | 10. สมาธิสูตร | สมาธิเป็นเหตุเกิดปัญญา | ขันธ์ ๕ - อุปาทานขันธ์ ๕ | |
16_0068 | 11. อุปนิสสูตร | ธรรมที่อาศัยกัน | ลำดับแห่งธรรม | |
17_0094 | 13. สมนุปัสสนาสูตร | การพิจารณาเห็นอุปทานขันธ์ ๕ | สักกายะ, ขันธ์ ๕ - อุปาทานขันธ์ ๕ | |
17_0105 | 14. อุปายสูตร | สิ่งที่เป็นความหลุดพ้นและไม่หลุดพ้น | ขันธ์ ๕ - อุปาทานขันธ์ ๕ | |
17_0108 | 15. อุทานสูตร | การตัดสังโยชน์และความสิ้นอาสวะ | ขันธ์ ๕ - อุปาทานขันธ์ ๕, ภพ | |
24_0058 | 16. มูลสูตร | ธรรมทั้งปวงมีฉันทะเป็นมูล | มูลเหตุ | |
17. บทส่งท้าย | ||||
1. บทนำ | ||||
09_0091 | 2. สามัญญผลสูตร ๑ | ผลแห่งความเป็นสมณะ | ทิฏฐิ | |
09_0100 | 3. สามัญญผลสูตร ๒ | ผลแห่งความเป็นสมณะ | ศีลสังวร-อินทรีย์สังวร | |
09_0131 | 4. สามัญญผลสูตร ๓ | ผลแห่งความเป็นสมณะ | สมาธิ | |
09_0131 | 5. สามัญญผลสูตร ๔ | ผลแห่งความเป็นสมณะ | วิชชา ๘ | |
22_0284 | 6. เมตตาสูตร | ธาตุ เครื่องสลัดออก ๖ ประการ | การขัดเกลาและละกิเลส | |
12_0256 | 7. วิตักกสัณฐานสูตร | สัณฐานแห่งวิตก | สมาธิ | |
14_0673 | 8. ธาตุวิภังคสูตร | การจำแนกธาตุ | ธาตุ | |
22_0144 | 9. ติกัณฑกีสูตร | สิ่งปฏิกูลและไม่ปฏิกูล | อุเบกขา | |
24_0061 | 10. อวิชชาสูตร | อาหารแห่งอวิชชา | ลำดับแห่งธรรม | |
22_0281 | 11. มหานามสูตร | อนุสติของพระอริยสาวก | อนุสสติ | |
14_0282 | 12. อานาปานสติสูตร | วิธีเจริญอานาปานสติ | อานาปานัสสติ | |
16_0188 | 13. ปริวีมังสนสูตร | การพิจารณาเพื่อความสิ้นทุกข์โดยชอบ | ปัจจยาการ, ภพ | |
22_0077 | 14. อนาคตสูตร | ภัยในอนาคต ๕ ประการ | เร่งความเพียร | |
23_0098 | 15. ภาวนาสูตร | ภาวนา | สมาธิ, ความเพียร | |
24_0099 | 16. อุปาลีสูตร | พระอุบาลีขออนุญาตอยู่ป่า | การปฏิบัติโดยลำดับ | |
14_0080 | 17. อาเนญชสัปปายสูตร | ปฏิปทามีอาเนญชสมาบัติเป็นที่สบาย | สมาบัติ, สมาธิ | |
25_0424 | 18. ปารายนวรรค ๑ | ธรรมเป็นเหตุให้ถึงฝั่ง | ปฏิบัติรวบยอด | |
25_0425 | 18. ปารายนวรรค ๒ | โสฬสปัญหา | ยอดธรรม | |
25_0225 | 20. ชาคริยสูตร | ผู้ตื่นอยู่มีผลสองอย่าง | ความเพียร | |
21. บทส่งท้าย | ||||
1. บทนำ | ||||
13_0103 | 2. อปัณณกสูตร | การปฏิบัติไม่ผิด | กุศล-อกุศล, ศรัทธา | |
14_0292 | 3. กายคตาสติสูตร | วิธีเจริญกายคตาสติ | กายคตาสติ | |
20_0542 | 4. สมุคคสูตร | นิมิต | สมาธิ | |
17_0112 | 5. ปริวัฏฏสูตร | การรู้อุปาทานขันธ์โดยเวียนรอบ ๔ | ขันธ์ ๕ - อุปาทานขันธ์ ๕ | |
23_0205 | 6. สัมโพธิสูตร | เหตุเจริญแห่งโพธิปักขิยธรรม | การปฏิบัติโดยลำดับ | |
12_0540 | 7. โกสัมพิยสูตร | สาราณิยธรรม ๖ | ความสามัคคี, การปกครอง | |
13_0125 | 8. จูฬราหุโลวาทสูตร | กรรม ๓ | กุศล-อกุศล | |
25_0264 | 9. อสุภสูตร | การพิจารณากายให้เห็นเป็นของไม่งาม | การขัดเกลาและละกิเลส | |
24_0029 | 10. โกศลสูตรที่ ๑ | อภิภายตนะ | ปกิณกธรรม | |
23_0120 | 11. อนุรุทธสูตร | มหาปุริสวิตก ๘ ประการ | การเลือกเฟ้นธรรม | |
20_0505 | 12. เกสปุตตสูตร | มิให้เชื่อโดยอาการ ๑๐ อย่าง | ศรัทธา, กุศล-อกุศล | |
18_0853 | 13. อินทริยภาวนาสูตร | การเจริญอินทรีย์ | ศีลสังวร-อินทรีย์สังวร | |
14_0333 | 14. จูฬสุญญตสูตร | ความว่างเปล่า สูตรเล็ก | ความว่าง, สมาบัติ | |
10_0057 | 15. มหานิทานสูตร | สิ่งที่เป็นต้นเหตุใหญ่ | ปัจจยาการ | |
25_0389 | 16. นาลกสูตร | ปฏิปทาอันสูงสุดของมุนี | ข้อพึงศีกษา-ประพฤติ-ปฏิบัติของสงฆ์ | |
17. บทส่งท้าย |